เป็นที่ทราบและยอมรับกันทั่วโลกแล้วว่า นมแม่มีคุณค่าสารอาหารมากที่สุด ช่วยลดอัตราเสี่ยงของการเป็นโรคต่างๆมากมาย อาทิ ภูมิแพ้ หอบหืด ไทรอยด์ เยื่อหุ้มสมองอักเสบจากเชื้อแบคทีเรีย มะเร็งเต้านม ขาดสารอาหาร เบาหวาน ท้องร่วง ผิวหนังอักเสบ กระเพาะและลำไส้อักเสบ โรคอ้วน โรคปลอกประสาทเสื่อมแข็ง ติดเชื้อทางเดินหายใจ ทางเดินปัสสาวะ รูมาทอยด์ ฯลฯ
แต่เมื่อวันนี้ เราไม่อยู่ในวัยที่จะสามารถดื่มน้ำนมจากอกมารดาได้แล้ว ทางใดที่จะมีโอกาสรับสารอาหารจากน้ำนมแม่ได้ดีที่สุดหรือใกล้เคียงน้ำนมแม่มากที่สุด เพื่อเป็นเกราะคุ้มกันให้กับร่างกายมนุษย์หรือเสริมสร้างภูมิต้านทานโรคอย่างมีประสิทธิภาพ

ผลิตภัณฑ์นมพร่องมันเนย GT&F หรือที่เรียกกันติดปากว่า GTF GTF (Glucose Tolerange Factor)

เป็นสารอาหารชนิดหนึ่งที่มีอยู่ในเนื้อเยื่อของมนุษย์ทุกคน มีองค์ประกอบหลัก 3 อย่าง ได้แก่ แร่ธาตุโครเมียม วิตามิน และกรดอะมิโน โดยระดับ GTF ในร่างกายจะลดลงตามอายุขัยเมื่อร่างกายขาดสารชนิดนี้ กลูโคสก็ไม่สามารถเข้าสู่เซลล์เต็มที่เกิดการรวมตัวของกลูโคสในเส้นเลือด ทำให้เกิดปัญหาสุขภาพต่างๆ ตามมา ในแหล่งที่มีสารอาหาร GTF เข้มข้นที่สุด ก็คือน้ำนมของมารดา ซึ่งมีการวิจัยค้นพบครั้งแรกในปี พ.ศ.2500 โดย ดร.วอลเตอร์ เมิร์ทส อดีตประธาน USDA ประเทศอเมริกา ผู้เชี่ยวชาญด้านสารอาหาร และอดีตที่ปรึกษาด้านผลิตภัณฑ์และสารอาหารองค์การอนามัยโลก (WHO) ซึ่งนักวิจัยก็พยายามค้นหาวิธีการผลิต GTF ในรูปแบบต่างๆให้มีความคงตัวสูงเพื่อให้สามารถนำมาใช้ทดแทน GTF ตามธรรมชาติได้ แต่ยังไม่ประสบความสำเร็จ ต่อมานักวิจัยของมหาวิทยาลัย Chung Hsing ประเทศไต้หวัน นำโดย ศาสตราจารย์ นายแพทย์แฟรงค์ เหมา เซีย-ฮุง ปริญญาเอกสาขาระบบต่อมไร้ท่อและผู้เชี่ยวชาญด้านผลิตภัณฑ์อาหาร ได้ใช้ความก้าวหน้าทางชีวเทคโนโลยียุคใหม่ผลิต GTF ในรูปแบบนมผงที่มีความคงตัวสูงและมีตัวนำเข้าสู่เซลล์ได้สำเร็จเป็นครั้งแรก จึงผลิตเป็นนมผงออกสู่ตลาดทั่วโลกภายใต้ชื่อ GT&F นมผงพร่องมันเนย GT&F เป็นนมที่เลียนแบบได้ใกล้เคียงนมมารดามากที่สุด มีสารอาหารที่สำคัญและจำเป็นต่อร่างกาย ซึ่งประเทศไทยก็ได้มีการรณรงค์มารดาที่คลอดบุตรให้ลูกดื่มนมจากเต้าของตนในระยะขวบปีแรก โดยเฉพาะในช่วง 3 วันแรกน้ำนมจะมีคุณค่าสารอาหารสูงสุด สามารถสร้างภูมิคุ้มกันที่แข็งแรงแก่ทารก คุณสมบัติเด่นของนม GT&F เป็นสารธรรมชาติที่ร่างกายควรได้รับเพราะดูดซึมเข้าร่างกายได้ง่าย มีประสิทธิภาพในการควบคุมระดับน้ำตาล โปรตีน และเผาผลาญไขมัน ช่วยเพิ่มการไหลเวียนของเลือด กระตุ้นการทำงานของเซลล์ต่างๆ ในร่างกายมนุษย์ ช่วยให้กล้ามเนื้อยืดหยุ่นดีขึ้น ระบบการทำงานในร่างกายมีประสิทธิภาพสูงขึ้น เหมาะอย่างยิ่งที่จะใช้ดูแลและบำรุงสุขภาพ GT&F ได้รับสิทธิบัตรจากหลายประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย อังกฤษ อิตาลี เยอรมัน ฝรั่งเศส ญี่ปุ่น ไต้หวัน มาเลเซีย ฯลฯ และได้รับการรับรองว่าเป็นผลิตภัณฑ์ที่ไม่มีสารพิษต่อร่างกาย 100 %
เป็นที่ทราบและยอมรับกันทั่วโลกแล้วว่า นมแม่มีคุณค่าสารอาหารมากที่สุด ช่วยลดอัตราเสี่ยงของการเป็นโรคต่างๆมากมาย อาทิ ภูมิแพ้ หอบหืด ไทรอยด์ เยื่อหุ้มสมองอักเสบจากเชื้อแบคทีเรีย มะเร็งเต้านม ขาดสารอาหาร เบาหวาน ท้องร่วง ผิวหนังอักเสบ กระเพาะและลำไส้อักเสบ โรคอ้วน โรคปลอกประสาทเสื่อมแข็ง ติดเชื้อทางเดินหายใจ ทางเดินปัสสาวะ รูมาทอยด์ ฯลฯ
แต่เมื่อวันนี้ เราไม่อยู่ในวัยที่จะสามารถดื่มน้ำนมจากอกมารดาได้แล้ว ทางใดที่จะมีโอกาสรับสารอาหารจากน้ำนมแม่ได้ดีที่สุดหรือใกล้เคียงน้ำนมแม่มากที่สุด เพื่อเป็นเกราะคุ้มกันให้กับร่างกายมนุษย์หรือเสริมสร้างภูมิต้านทานโรคอย่างมีประสิทธิภาพ

ผลิตภัณฑ์นมพร่องมันเนย GT&F หรือที่เรียกกันติดปากว่า GTF

GTF เป็นสารอาหารชนิดหนึ่งที่มีอยู่ในเนื้อเยื่อของมนุษย์ทุกคน มีองค์ประกอบหลัก 3 อย่าง ได้แก่ แร่ธาตุโครเมียม วิตามิน และกรดอะมิโน โดยระดับ GTF ในร่างกายจะลดลงตามอายุขัยเมื่อร่างกายขาดสารชนิดนี้ กลูโคสก็ไม่สามารถเข้าสู่เซลล์เต็มที่เกิดการรวมตัวของกลูโคสในเส้นเลือด ทำให้เกิดปัญหาสุขภาพต่างๆ ตามมา ในแหล่งที่มีสารอาหาร GTF เข้มข้นที่สุด ก็คือน้ำนมของมารดา ซึ่งมีการวิจัยค้นพบครั้งแรกในปี พ.ศ.2500 แต่ยังผลิตมาใช้ทดแทน GTF ตามธรรมชาติได้ไม่สำเร็จ ต่อมานักวิจัยของมหาวิทยาลัย Chung Hsing ประเทศไต้หวัน โดย ศาสตราจารย์ นายแพทย์แฟรงค์ เหมา เซีย-ฮุง ปริญญาเอกสาขาระบบต่อมไร้ท่อและผู้เชี่ยวชาญด้านผลิตภัณฑ์อาหาร ได้ใช้ความก้าวหน้าทางชีวเทคโนโลยียุคใหม่ผลิต GTF ในรูปแบบนมผงที่มีความคงตัวสูงและมีตัวนำเข้าสู่เซลล์ได้สำเร็จเป็นครั้งแรก และนำออกสู่ตลาดทั่วโลกภายใต้ชื่อ GT&F ขวบปีแรก โดยเฉพาะในช่วง 3 วันแรกน้ำนมจะมีคุณค่า

GTF สามารถใช้กับผู้ใดบ้าง ???

  • ผู้ป่วยเบาหวาน
  • ผู้อยู่ในภาวะโรคไต ไขมัน ไข้หวัด รูมาตอย
  • แผลเรื้อรังหายยาก
  • ผู้ที่นิยมดื่มแอลกอฮอส์ในปริมาณมาก
  • ผู้ที่อยู่ในสภาวะเครียด เซื่องซึม นอนไม่ค่อยหลับ
  • ผู้ที่ไม่ค่อยได้ออกกำลังกายหรือผู้ที่ทำงานหนัก
  • ผู้พักฟื้นหลังการผ่าตัดหรือเจ็บป่วย สตรีหลังคลอด
  • ผู้ที่มีปัญหาสุขภาพเรื้อรัง หรือสุขภาพส่วนตัว